Aphasia Banner 1.jpg

ภาวะบกพร่องทางการสื่อสาร (Aphasia)

ภาวะบกพร่องทางการสื่อสาร โดยมีพยาธิสภาพในสมองบริเวณที่ควบคุมเรื่องภาษา ซึ่งอาการแตกต่างกันไปตามแต่ละรูปแบบที่ผิดปกติ

แชร์

Aphasia (อะ-เฟ-เซีย) คือ ภาวะบกพร่องทางการสื่อสาร โดยมีพยาธิสภาพในสมองบริเวณที่ควบคุมเรื่องภาษา ซึ่งอาการแตกต่างกันไปตามแต่ละรูปแบบที่ผิดปกติ ส่วนใหญ่มักเป็นในสมองซีกซ้ายมากกว่าซีกขวา ผู้ป่วยที่มีปัญหาการสื่อสารมักประสบปัญหาในการทำงาน การใช้ชีวิตประจำวัน และการเข้าสังคม เป็นต้น

ภาวะบกพร่องทางการสื่อสาร มีได้หลายรูปแบบ เช่น

  • การบกพร่องด้านการพูด
  • การบกพร่องด้านการเข้าใจภาษา
  • การบกพร่องด้านการเขียน

ผู้ป่วยจะแสดงอาการ ได้แก่

  • พูดได้เป็นคำสั้น ๆ
  • พูดไม่เป็นประโยค
  • มีการเรียงคำในประโยคผิด
  • พูดคำที่ไม่มีความหมาย
  • ฟังภาษาพูดไม่เข้าใจ
  • เขียนเรียงคำในประโยคผิด เป็นต้น

โดยทั่วไป ความผิดปกติทางการสื่อสารจะแบ่งเป็นลักษณะต่าง ๆ โดยดูจากตำแหน่งรอบโรคในสมองหลัก ๆ ได้ดังนี้

  1. Broca’s aphasia/non fluent aphasia ผู้ป่วยไม่สามารถออกเสียงได้ หรือได้เป็นคำ ๆ หรือประโยคสั้น ๆ โดยที่ผู้ป่วยยังรู้ความหมายของคำ และเข้าใจประโยคที่ผู้อื่นพูด เช่น สามารถแสดงท่าทางตามที่คำสั่งได้ อาการผิดปกติขึ้นกับความรุนแรงของโรค
  2. Wernicke’s aphasia/ fluent aphasia ผู้ป่วยสามารถพูดได้คล่อง เป็นประโยค แต่ไม่เข้าใจความหมายของคำและประโยคนั้นๆ รวมถึงไม่เข้าใจที่ผู้อื่นพูด เช่น การตอบกลับพูดคุยคนละเรื่อง
  3. Global aphasia ผู้ป่วยไม่สามารถพูดได้คล่อง และไม่เข้าใจความหมายของคำหรือประโยค

สาเหตุของการสื่อสารผิดปกติ เช่น

  • โรคหลอดเลือดสมอง
  • อุบัติเหตุทางสมอง
  • เนื้องอกสมอง
  • ติดเชื้อในสมอง
  • โรคความเสื่อมทางสมอง เช่น อัลไซเมอร์

ซึ่งเราสามารถหาสาเหตุเรื่องการสื่อสารบกพร่อง ได้จากการทำเอกซเรย์คอมพิวเตอร์สมอง หรือเอกซเรย์แม่เหล็กไฟฟ้าสมอง เบื้องต้น

บทความโดย

เผยแพร่เมื่อ: 15 เม.ย. 2022

แชร์

แพทย์ที่เกี่ยวข้อง

  • Link to doctor
    นพ. วสันต์ อัครธนวัฒน์

    นพ. วสันต์ อัครธนวัฒน์

    • ประสาทวิทยา
    • ประสาทวิทยา
    โรคระบบประสาท, Interventional Neuroradiology, โรคหลอดเลือดสมอง
  • Link to doctor
    พญ. ทัศนีย์ ตันติฤทธิศักดิ์

    พญ. ทัศนีย์ ตันติฤทธิศักดิ์

    • ประสาทวิทยา
    โรคระบบประสาท, หลอดเลือดสมองผิดปกติ, ภาวะสมองเสื่อม, ไมเกรน, อาการเวียนศีรษะ, ชาปลายมือปลายเท้า, การฉีดโบทูลินัมท็อกซินรักษาโรคทางระบบประสาท, โรคใบหน้ากระตุกครึ่งซีก
  • Link to doctor
    ผศ.พญ. อภิญญ์เพ็ญ สาระยา

    ผศ.พญ. อภิญญ์เพ็ญ สาระยา

    • ประสาทวิทยา
    • โรคภูมิคุ้มกันทางระบบประสาท
    โรคระบบประสาท, โรคภูมิคุ้มกันทางระบบประสาท
  • Link to doctor
    นพ. สุรศักดิ์ ภู่พานิช

    นพ. สุรศักดิ์ ภู่พานิช

    • ประสาทวิทยา
    • มะเร็งทางระบบประสาท
    โรคระบบประสาท, Neuro Oncology
  • Link to doctor
    พญ. จุฑาทิพย์ รัตนพันธ์

    พญ. จุฑาทิพย์ รัตนพันธ์

    • ประสาทวิทยา
    • ประสาทวิทยา
  • Link to doctor
    น.อ.นพ. อุดม สุทธิพนไพศาล ร.น.

    น.อ.นพ. อุดม สุทธิพนไพศาล ร.น.

    • ประสาทวิทยา
    • โรคหลอดเลือดสมอง (โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต)
    • รังสีร่วมรักษาระบบประสาท
    โรคทางสมองและระบบประสาท, โรคหลอดเลือดสมอง, โรคความผิดปกติของหลอดเลือดสมองและคอ, โรคหลอดเลือดสมองโป่งพอง , ความผิดปกติของหลอดเลือดสมอง คอและไขสันหลังจากโรคหรืออุบัติเหตุ
  • Link to doctor
    พญ. จุฑาณัฐ ยศราวาส

    พญ. จุฑาณัฐ ยศราวาส

    • ประสาทวิทยา
    โรคทางสมองและระบบประสาท, โรคลมชัก
  • Link to doctor
    นพ. นฤพัชร สวนประเสริฐ

    นพ. นฤพัชร สวนประเสริฐ

    • ประสาทวิทยา
    โรคระบบประสาท, การตรวจวินิจฉัยกล้ามเนื้อและเส้นประสาทด้วยไฟฟ้า
  • Link to doctor
    นพ. ณัฐพล อุฬารศิลป์

    นพ. ณัฐพล อุฬารศิลป์

    • ประสาทวิทยา
    • รังสีร่วมรักษาระบบประสาท
    โรคระบบประสาท, รังสีร่วมรักษาระบบประสาท
  • Link to doctor
    นพ. ธนบูรณ์ วรกิจธำรงค์ชัย

    นพ. ธนบูรณ์ วรกิจธำรงค์ชัย

    • ประสาทวิทยา
    • ประสาทวิทยา
  • Link to doctor
    นพ. ภูชิต สุขพัลลภรัตน์

    นพ. ภูชิต สุขพัลลภรัตน์

    • ประสาทวิทยา
    โรคระบบประสาท, โรคกล้ามเนื้อและเส้นประสาท, อาการชา, ไฟฟ้าวินิจฉัย