MedPark Stories

หมอกระดูกที่รักษาผ่านกล้อง จากแผลเล็ก ๆ สู่คุณภาพชีวิตที่ได้กลับคืน

ความท้าทายของหมอผ่าตัดส่องกล้อง คือเทคโนโลยีที่พัฒนาไว แพทย์ก็ต้องตามให้ทัน เพราะเป็นหมอที่ต้องดูแลอวัยวะที่เป็นเหมือนโครงสร้างและเสาหลักของร่างกายอย่างกระดูกและข้อต่อต่าง ๆ

Goto page arrow icon

การแพทย์กับการรักษาข้อเท้าหลวมและข้อเท้าเสื่อม

ข้อเท้าหลวม ภาวะที่เอ็นข้อเท้าย้วยไม่แข็งแรง เดินแล้วรู้สึกไม่มั่นคง ส่งผลให้ข้อเท้าพลิกได้ง่ายขึ้น นพ.กฤษฎิ์ ศัลยแพทย์กระดูกและข้อ แบ่งปันประสบการณ์เกี่ยวกับการรักษาคนไข้ที่เป็นประโยชน์

Goto page arrow icon

ส่งต่อวิชาแพทย์ บุกเบิกโรงเรียนแพทย์ หนึ่งในการพัฒนาประเทศ

ศาตราจารย์ นายแพทย์สิน อนุราษฎร์ ผู้อำนวยการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหารโรงพยาบาลเมดพาร์ค แลกเปลี่ยนมุมมองต่อการพัฒนาการแพทย์ในประเทศไทย พร้อมทั้งแนะนำแนวคิดและการริเริ่มที่จะสามารถขยับขยายองค์ความรู้

Goto page arrow icon

MedPark Medical Escort Center ทีมกู้ชีพบนฟากฟ้า

หน่วยกู้ชีพบนฟากฟ้า ที่ไม่ว่าจะต้องเจอสภาพอากาศเลวร้ายหรือสถานการณ์ไม่คาดคิด จะต้องพาผู้ป่วยไปถึงปลายทางอย่างปลอดภัย วันนี้จึงอยากพามารู้จัก MedPark Medical Escort Center กับภารกิจรับ-ส่งผู้ป่วยทางอากาศยาน

Goto page arrow icon

ผ่าตัดกระดูกสันหลัง Minimally Invasive Surgery (MIS)

การผ่าตัดซ่อมแซมเส้นประสาทไขสันหลัง ถือเป็นทางเลือกสุดท้ายในการรักษา และบทความนี้ นพ.เทวเจษฎา ภาเรือง ศัลยแพทย์ผู้ชำนาญการด้านศัลยศาสตร์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลเมดพาร์ค จะพามารู้จัก การผ่าตัดเส้นประสาทไขสันหลัง ด้วยเทคนิค Minimally Invasive Surgery (MIS)

Goto page arrow icon

คนไข้กระดูกหัก รักษาแล้วไม่ใช่แค่กลับมาเดินได้ แต่เขาวิ่งได้ด้วย

ผ่าตัดกระดูกหักซับซ้อน ต้องอาศัย Orthopedic Trauma โดยเฉพาะ อุปกรณ์ต้องครบ และทีมต้องพร้อม รู้หรือไม่ 50-60% ของกลุ่มคนไข้กระดูก ไม่ใช่คนที่ต้องเปลี่ยนข้อเทียม หรือมีปัญหาด้านกระดูกสันหลัง แต่มาด้วยอาการ “กระดูกหัก”

Goto page arrow icon

นักกำหนดอาหาร ผู้รักษา ฟื้นฟู และดูแลผู้ป่วยผ่านการกิน

นักกำหนดอาหารวิชาชีพ จัดได้ว่าเป็นหนึ่งในอาชีพที่มีส่วนในการสนับสนุนการรักษาและฟื้นฟูคนไข้ในโรงพยาบาลอย่างมาก เรื่องราวที่หลายคนอาจยังไม่รู้มาก่อน ว่าบทบาทของนักกำหนดอาหารวิชาชีพในโรงพยาบาล เขาทำอะไรกันบ้าง

Goto page arrow icon

คนไข้ไม่จำเป็นต้องทนทุกข์ทรมานกับความปวด ถ้ามาถูกที่ ถูกเวลา

“Pain Clinic ทำให้เกิดการรักษาแบบองค์รวม ซึ่งจะเกิดขึ้นในโรงพยาบาลขนาดใหญ่ที่หมอทุกคนเข้าใจกัน” เล่าถึงเส้นทางกว่าจะมาเป็นหมอระงับปวด พร้อมเผยวิธีหยุดความเจ็บปวดในแบบของ Pain Intervention Specialist

Goto page arrow icon

หมอผ่าตัดเท้า ช่วยเพิ่มตัวเลือกทางการรักษา เพิ่มความหวังให้กับคนไข้

“เราสามารถซ่อมแซมและรักษาเท้าของคนไข้ ช่วยแก้ไขความพิการ ให้คนไข้กลับมาใช้งานเท้าได้” นายแพทย์กฤษฎิ์ พฤกษะวัน ศัลยแพทย์กระดูกและข้อ เฉพาะทางด้านการผ่าตัดเท้าและข้อเท้า แชร์แนวคิดและประสบการณ์การตัดสินใจเป็นหมอเท้า

Goto page arrow icon

ประสบการณ์รักษา มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ ผ่าตัดด้วยเลเซอร์ แผลเล็ก เจ็บน้อย

ประสบการณ์รักษา มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ “ผมคงจะดื่มแชมเปญมากเกินไป ก็เลยทำให้ปัสสาวะมีสีแปลก ๆ ตอนนั้นไม่คิดว่าจะเป็นโรคร้ายแรงอะไรเลย ผมแค่ดื่มน้ำให้เยอะขึ้น แต่พอผ่านไป 2-3 สัปดาห์ ก็ยังไม่หาย จนมาเห็นหยดเลือดสด ๆ ในชักโครก”

Goto page arrow icon

พอคนไข้มองเห็นชัด มีชีวิตที่ดีขึ้น มีความสุข ก็ทำให้เรามีพลังรักษาต่อ

“SMILE® Pro ตอบโจทย์ทั้งหมอและคนไข้ แม่นยำ ปลอดภัย ช่วยลดความกลัวของคนไข้ได้อย่างดี” แชร์ประสบการณ์บนเส้นทางการเป็น “หมอกระจกตา” ของ พญ. สุภาวดี ยาวนานเกือบ 20 ปี

Goto page arrow icon

โรคระบบทางเดินอาหาร ความท้าทายของหมอคือ การหาสาเหตุที่แท้จริง

โรคระบบทางเดินอาหาร แพทย์ต้องมองภาพรวม เข้าใจกลไก ความเชื่อมโยงของระบบนี้ได้ทั้งหมด แพทย์หญิงสุรีย์พร แชร์ประสบการณ์ในวิชาชีพ และเผยให้เห็นแง่มุมน่าสนใจ ความท้าทายในการทำความเข้าใจโรคไปพร้อม ๆ กับคนไข้

Goto page arrow icon

ประสบการณ์ กระดูกหักซับซ้อน จากอุบัติเหตุ เจ็บสาหัสเกือบต้องตัดแขน

ประสบการณ์ กระดูกหักซับซ้อน เกือบต้องตัดแขน “มันยากมากเลยครับ แขนผมค่อย ๆ เล็กลง คุณหมอพยายามเตือนสติว่าต้องกลับมาให้ได้”

Goto page arrow icon

หัวใจตีบซับซ้อน กับเทคนิคการยื้อชีวิต ที่ต้องอาศัย “หมอหัวใจเฉพาะทาง”

1 ใน 3 ของคนไข้โรคหลอดเลือดหัวใจ มีภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบซับซ้อน และมีความเสี่ยงเสียชีวิตสูง การอักเสบที่เกิดขึ้นกับผนังหลอดเลือด ทำให้เกิดภาวะตีบ ตัน จนเลือดไม่สามารถไปเลี้ยงหัวใจได้ตามปกติ

Goto page arrow icon

ณ ห้องฉุกเฉิน สิ่งสำคัญที่สุดคือสติ เพื่อเพิ่มโอกาสรอดชีวิตของคนไข้ให้มากที่สุด

“คนไข้ที่ต้องมาห้องฉุกเฉิน มีแต่อาการหนัก หมอฉุกเฉินต้องมีสติมาก เพื่อช่วยเหลือคนไข้อย่างเต็มประสิทธิภาพ” นายแพทย์เลิศฤทธิ์ วรรณะเอี่ยมพิกุล แพทย์ผู้ชำนาญการเฉพาะทางด้านเวชศาสตร์ฉุกเฉิน

Goto page arrow icon

หมอผิวหนังที่เข้าใจเรื่องภูมิคุ้มกัน แนวทางการรักษาโรคที่แตกต่าง

โรคยากซับซ้อน ถ้าเราโฟกัสแค่อาการที่ผิวหนัง จะไม่สามารถวินิจฉัยอาการป่วยที่แท้จริงของคนไข้ได้

Goto page arrow icon

แชร์ประสบการณ์ ผ่าตัดต้อกระจก เปลี่ยนเลนส์แก้วตาเทียมสองชนิดในวันเดียว

คุณหมอวางแผนมาอย่างดีแล้ว ท่านมีประสบการณ์สูง และรู้ว่าเราต้องการอะไรมากที่สุด

Goto page arrow icon

กายอุปกรณ์ คือ งานศิลปะเล็ก ๆ แต่ยิ่งใหญ่ ที่แฝงอยู่ในงานแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

กายอุปกรณ์ คือการใช้วัสดุอุปกรณ์ที่ออกแบบพิเศษเฉพาะแต่ละส่วนของร่างกาย มาเสริมในส่วนที่บกพร่องหรือมาใช้ทดแทนส่วนที่ขาดหายไป  เพื่อฟื้นฟูและส่งเสริมให้คนไข้เคลื่อนไหวได้ดีขึ้นและใช้ชีวิตได้ง่ายขึ้น

Goto page arrow icon

Selective Laser Trabeculoplasty (SLT): เลเซอร์แก้ไขความดันตา รับมือกับโรคต้อหินตั้งแต่ระยะเริ่มต้น

Selective laser trabeculoplasty (SLT) เป็นเลเซอร์ที่ปรับพัลซ์ ความถี่ และพลังงานให้สามารถเลือกทำลายเฉพาะเซลล์ที่มีเม็ดสีเมลานินซึ่งจะดูดซับพลังงานจากแสงเลเซอร์ได้เร็วกว่าเซลล์อื่นในบริเวณที่ระบายน้ำของลูกตา โดยไม่มีผลต่อเซลล์อื่น ๆ ในบริเวณเดียวกัน

Goto page arrow icon

หมอหัวใจคือผู้หยิบยื่นโอกาส เพราะ 1 หัวใจ คือ 1 ชีวิต

“เราไม่ใช่แค่ช่วยชีวิตคนคนหนึ่ง แต่เรายังรักษารอยยิ้มของคนในครอบครัวเขาไว้ด้วย” หมอหัวใจ หนึ่งในอาชีพที่น่าสนใจและมีความสำคัญมากอาชีพหนึ่ง เพราะหัวใจ = ชีวิต หากหัวใจเจ็บป่วย นั่นหมายถึงความเสี่ยงต่อชีวิต

Goto page arrow icon

ป่วยโควิด-19 ในวัย 99 ปี โรงพยาบาลที่พร้อมคือแสงแห่งความหวัง

คุณ Manoj Parekh ชาวอินเดียที่อาศัยและทำงานอยู่ในประเทศไทย เป็นอีกหนึ่งครอบครัวที่ได้รับเชื้อโควิด-19 ทั้งตัวเขาเองและคุณแม่ Kamlaben Shashikant Parekh วัย 99 ปี มีอาการอาเจียนระหว่างรับประทานอาหารเช้า

Goto page arrow icon

PVP Greenlight Laser เทคโนโลยีผ่าตัดต่อมลูกหมากโต บุกเบิกการรักษา คืนคุณภาพชีวิต

Green Light Photoselective Vaporization of the Prostate (PVP) เลเซอร์สีเขียว ที่ช่วยให้การผ่าตัดมีประสิทธิภาพขึ้นกว่าเดิม ความยาวคลื่นสม่ำเสมอ ก็จะตรงไปตัดเนื้อเยื่อในทิศทางเดียวกัน ความเสียหายจึงไม่กระจายไปยังบริเวณรอบ ๆ หรือกระจายได้น้อยมาก

Goto page arrow icon

พาร์กินสัน รู้เร็ว รักษาได้ คุณภาพชีวิตดี

โรคพาร์กินสัน (Parkinson’s disease) เป็นโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ รองจาก โรคความจำเสื่อมอัลไซเมอร์ พบมากในผู้ป่วยอายุ 60 ปีขึ้นไป โรคนี้มีความซับซ้อนและต้องการการดูแลรักษาที่เหมาะสม

Goto page arrow icon

ลูกเล่านาทีฉุกเฉินแม่วัย 58 ปี ลิ่มเลือดอุดตันในสมอง แขนขาอ่อนแรงพูดไม่ชัด เกือบโคม่า

ถ้ามีอาการผิดปกติ อยากให้มาหาคุณหมอให้เร็วที่สุดไม่เกิน 6 ชั่วโมง ถ้าเป็นไปได้ สุขภาพของผู้สูงวัยเป็นสิ่งที่คนในครอบครัวต้องหมั่นสังเกตให้ดี เพราะอาการบางอย่างเกิดจากการทำงานที่ผิดปกติของสมองและหลอดเลือด หากไม่รีบนำส่งโรงพยาบาลอาจส่งผลให้สมองตาย

Goto page arrow icon

เวชศาสตร์ฟื้นฟู เรามุ่งเน้นคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างยั่งยืนของคนไข้

คุณภาพชีวิตที่ดีอย่างยั่งยืน มาจากการทำงานร่วมกันเป็นทีม ในการกำหนดเป้าหมาย และแผนการรักษาร่วมกัน การรักษาจึงเป็นลักษณะเฉพาะบุคคล

Goto page arrow icon

โรคผิวหนัง..ส่วนใหญ่มองด้วยตาก็สามารถวินิจฉัยได้ เพราะเป็นทักษะพิเศษของ ‘หมอผิวหนัง’

พอได้เห็นคนไข้สวยขึ้น มั่นใจขึ้น เราก็ดีใจไปด้วย เพราะความงามสามารถเปล่งประกาย หรือทำให้เขามีพลังในชีวิตได้

Goto page arrow icon

หมอศัลย์ฯ แชร์ประสบการณ์ ทำบอลลูนหัวใจ รักษาหลอดเลือดหัวใจตีบ

ผมเองก็ค่อนข้างจะเรียกว่าประมาท ไม่มีอาการก็เลยไม่คิดว่ามีโรคหัวใจ แต่ที่แท้คือมันซ่อนอยู่ อาการวูบ หน้ามืด เป็นหนึ่งในสัญญาณเตือนความผิดปกติของหัวใจและหลอดเลือดที่ไม่ควรมองข้าม โดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงอายุ

Goto page arrow icon

ทำอย่างไรเมื่อการนอนไม่หลับ กลายเป็นปัญหาเรื้อรัง บ่อนทำลายสุขภาพ

ปัญหาในการนอนหลับ หนึ่งในปัญหารบกวนคุณภาพชีวิต ที่ส่งผลโดยตรงต่อทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต การนอนไม่หลับ พักผ่อนไม่เพียงพอ นำมาซึ่งความเจ็บป่วยได้หลายอย่าง มีผู้นอนไม่หลับ นอนหลับยาก ต้องทุกข์ทรมานกับปัญหานี้อยู่ไม่น้อย

Goto page arrow icon

ROSA เทคโนโลยีหุ่นยนต์ช่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม

ผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม เป็นหนึ่งในการผ่าตัดเพื่อช่วยแก้ปัญหาความเสื่อมของกระดูก ROSA เป็นเทคโนโลยีหุ่นยนต์ช่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมที่ทำงานร่วมกับแพทย์เฉพาะที่ชำนาญ เพื่อเพิ่มประสิทธิผลของการรักษา

Goto page arrow icon

รักษาโรคข้ออักเสบและรูมาติสซั่ม เหมาะกับตัวเองเพราะชอบสืบ ค้นหาคำตอบ

แต่ละเคสไม่ซ้ำกัน มันค่อนข้างซับซ้อน ต้องนำผลตรวจทั้งผลแล็บ ผลเอกซเรย์ มาผสมผสานกันเพื่อหาโรคให้เจอ

Goto page arrow icon

สู้ให้ถึงที่สุด... มะเร็งลามไปที่ปอด ให้คีโมร่วมกับภูมิคุ้มกันบำบัด

คุณแม่เป็นทุกสิ่งทุกอย่างของจูน สิ่งที่ทำให้ดีที่สุดในเวลานี้ คือให้เขาได้รับการรักษาที่ดีที่สุด เพื่อมีชีวิตที่ยังมีความสุข อยู่กับเรานานที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้

Goto page arrow icon

ถ้ากลัวแล้วต้องทรมานไปตลอดชีวิต กับสู้แล้วคุณจะดีขึ้น จะเลือกอย่างไหน

หมอผ่าตัด หนึ่งในอาชีพที่ช่วยชีวิตผู้คนมากมาย ช่วยเปลี่ยนชีวิตผู้คนให้ดีขึ้น ปลายทางที่ดูสดใส แต่ระหว่างทางไม่ง่ายนัก โดยเฉพาะผ่าตัดหัวใจ ที่ใคร ๆ ก็กลัว ไม่มีหมอคนไหนไม่อยากช่วยเหลือคนไข้ แต่ความร่วมมือจากคนไข้ก็สำคัญ

Goto page arrow icon

คุณแม่แชร์ประสบการณ์ลูก 3 ขวบ ผ่าตัดนิ้วหัวแม่มือรักษา โรคนิ้วล็อกในเด็ก

โรคนิ้วล็อก ไม่ใช่แค่ผู้ใหญ่เท่านั้นที่เป็น แต่สามารถเกิดขึ้นกับเด็กได้เช่นกัน อาการนิ้วล็อกในเด็กดูเผิน ๆ อาจไม่มีอะไรมาก แต่ความจริงโรคนี้อาจส่งผลกระทบต่อการใช้มือในเด็กมากกว่าที่เคยคิด

Goto page arrow icon

คนไข้ 75 ปี แชร์ประสบการณ์ รักษามะเร็งต่อมลูกหมาก ไม่ต้องผ่าตัด

นักธุรกิจชาวอเมริกัน วัย 75 ปี ทำงานและใช้ชีวิตอยู่เมืองไทยมากว่า 25 ปี ตัดสินใจรักษามะเร็งต่อมลูกหมาก ด้วยวิธีการใส่แร่กัมมันตรังสี เป็นการใส่แร่ชั่วคราว เมื่อออกจากห้องใส่แร่แล้วจะไม่มีแร่หรือกัมมันตรังสีใด ๆ

Goto page arrow icon

คนไข้ไม่ได้มาด้วยโรคไตอย่างเดียว อาจโยงไปถึง หัวใจ สมอง

หมอจึงควรใฝ่หาความรู้เพิ่มเติม ดูแลคนไข้แบบองค์รวม ใช้หลักการแพทย์ยุคใหม่ผสมผสานธรรมชาติบำบัด

Goto page arrow icon

“แค่คอบวมก็เสียชีวิตได้” คุยกับ ผ้าแพร - พญ.ภคนันท์ จากมือวางผ้าก๊อซ สู่แพทย์เฉพาะทางหู คอ จมูก

คนเราขาดอากาศหายใจได้แค่ 4 นาที แล้วทางเดินหายใจมันค่อนข้างเล็ก ถ้ามันบวม มีก้อนเนื้องอกมาเบียด ก็จะยิ่งเล็กลงกว่าเดิม

Goto page arrow icon

ทุกคนที่มารักษาภาวะมีบุตรยาก ล้วนต้องการอุ้มลูกที่แข็งแรง

การจะสร้างศูนย์รักษาผู้มีบุตรยากที่สมบูรณ์ในประเทศไทย ทำได้ไม่ง่ายนัก ต้องอาศัยการคิดให้ครบ บุคลากรที่มีศักยภาพ เทคโนโลยีที่อัปเดต มีมาตรฐาน และการออกแบบประสบการณ์ที่ครบทุกความต้องการ

Goto page arrow icon

นักเทคนิคการแพทย์ เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้การรักษาคนไข้ ประสบความสำเร็จมากขึ้น

ห้องแล็บมีกระบวนการทำงานไม่เหมือนแผนกอื่น เราทำงานกับเชื้อโรค สารเคมี หลายอย่างอาจเกิดอันตรายทั้งผู้ป่วยและผู้ปฏิบัติงาน

Goto page arrow icon

“มากกว่ารัก..คือการเสียสละ” คู่รักเล่าประสบการณ์ ปลูกถ่ายไต มอบชีวิตใหม่ในร่างกายเดิม

ปกติถ้าคู่พ่อ-ลูก เป็นสายเลือดเดียวกันก็จะเข้ากันได้ ส่วนของผมกับภรรยา โอกาสที่จะไม่เข้ากันมีสูง

Goto page arrow icon

30 ปี ในสายงานรักษาผู้มีบุตรยาก ผมมีความสุข ประทับใจทุกครั้ง

เป็นความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์กับคนไข้ ที่แม้จะรักษาสำเร็จไปนานแล้ว ก็ยังอัปเดตข่าวคราวกันเสมอ

Goto page arrow icon

โรคหลอดเลือดสมอง นาทีเป็น นาทีตาย ที่ต้องพร้อมรับมือ

โรคอื่น ๆ บางทีเขารู้ตัวเองแล้วไปรักษาเองได้ แต่โรคหลอดเลือดสมอง คนไข้จะช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ มันจึงเป็นโรคที่เกี่ยวข้องกับคนในครอบครัวมากที่สุด

Goto page arrow icon

ต้อกระจก เหมือนเป็นโรค Simple แต่ความจริงไม่ใช่

ยิ่งซักประวัติ พูดคุยกับคนไข้ ได้ข้อมูลมากเท่าไร ก็ยิ่งส่งผลดีต่อการรักษา เพื่อให้ผลของการผ่าตัด ออกมาอย่างเหมาะสมที่สุด

Goto page arrow icon

ทันตแพทย์ ผู้ช่วยทันตแพทย์ ทุกคนมีมุมมองที่ไปในทิศทางเดียวกัน ว่าเราต้องการมอบสิ่งที่ดีให้กับคนไข้

เรื่องราวความสุขจากการเป็น ‘หมอใส่ฟัน’ นักรังสรรค์ ฟันปลอม ครอบฟัน ง่ายดายเพียงแค่ปลายนิ้ว!

Goto page arrow icon

หมอวิสัญญี ไม่ใช่แค่ดมยาสลบ แต่คือการหายใจแทนคนไข้

เราเป็นหมอที่ทำงานเบื้องหลัง คนไข้จึงไม่ค่อยรู้ว่าเราทำอะไรบ้าง บางทีเจอหน้ากันแค่ 5-10 นาทีก็หลับไปแล้ว

Goto page arrow icon

งานกายภาพบำบัด เหมือนมีคนไข้เป็น ‘ครู’ ของเรา

เราต้องรักษา ‘ศรัทธา’ ของคนไข้ ทำอย่างไรก็ได้ให้เขาเชื่อมั่น และให้ผลลัพธ์ตามที่เขาต้องการให้ได้ จึงต้องเรียนรู้มากขึ้น ไม่หยุดขวนขวา

Goto page arrow icon

เพราะสุขภาพช่องปากสำคัญในทุก ๆ ช่วงเวลาของชีวิต

เนื้อฟันของมนุษย์มีจำกัดและไม่มีการซ่อมแซมตัวเองเหมือนอวัยวะอื่น ๆ หากปล่อยเป็นโรคซ้ำ ๆ สักวันก็ต้องเสียไปทั้งหมด

Goto page arrow icon

ทุกการผ่าตัดที่เราทำให้คนไข้ ตั้งใจให้เป็นงานระดับมาสเตอร์พีซ

การผ่าตัดไม่ได้เป็นเพียงแค่ การรักษาความผิดปกติของดวงตาข้างนึง แต่เป็นการมอบความสุขในชีวิตให้กับคนไข้ เนื่องจากคนไข้แต่ละคนมีพฤติกรรมการใช้ชีวิตแตกต่างกัน มีความต้องการที่แตกต่างกัน

Goto page arrow icon

ประสบการณ์คลอดลูกแฝด 3 ท้องแรกของครอบครัว

ทิกเกอร์ พูม่า แพนเตอร์ ท้องแรกของครอบครัว แถมเป็นแฝดถึงสามคน มันมีอะไรหลายอย่างให้ต้องกังวล เราไม่รู้ว่ามันจะเกิดอะไรขึ้นมาบ้าง

Goto page arrow icon

ประสบการณ์คุณแม่มือใหม่ กับสไตล์การเลี้ยงลูกที่เริ่มต้นแบบสุดโต่ง

ประสบการณ์คุณแม่มือใหม่ เจอปัญหาหัวนมแตก เจ็บสุด ๆ หัวนมแตกจนตกสะเก็ด ลูกเลยต้องกินสะเก็ดที่หลุดปนไปกับน้ำนมด้วย ทรมานทุกครั้งที่ลูกกินนมค่ะ

Goto page arrow icon

หมอผ่าตัดที่ดี นอกจากจะต้องผ่าตัดให้เก่งแล้ว ยังต้องดูแลคนไข้ให้ไม่ต้องผ่าตัดได้ด้วย

"คนไข้แต่ละคนมีความต้องการการรักษา หรือการบริหารร่างกายไม่เหมือนกัน เราจำเป็นต้องวิเคราะห์อย่างดี เพื่อที่จะได้แนะนำสิ่งที่เป็นประโยชน์และเหมาะสมที่สุดกับคนไข้" ความคิดเห็นที่มาจากประสบการณ์การทำงาน

Goto page arrow icon

“รักตัวเองและเป็นผู้ให้” คุณพูนพรรณ ไชยกุล กับประสบการณ์รักษามะเร็ง Sarcoma

SARCOMA ไม่เหมือนมะเร็งชนิดอื่น มันไม่แสดงผลในเลือด ดังนั้น ตรวจเลือดก็ไม่เจอและมันเกิดได้ทุกจุดของร่างกาย กว่าเราจะรู้ตัว มันก็โตเป็นก้อนแล้ว

Goto page arrow icon

รังสีรักษาไม่ใช่ศัตรู แต่คือฮีโร่ที่ช่วยให้ผู้ป่วยมะเร็งดีขึ้น

คำว่า รังสี ใครก็กลัว มองว่าไม่ใช่การรักษาแต่เป็นการทำร้ายเสียมากกว่า ซึ่งในปัจจุบันเทคโนโลยีทางการแพทย์ก้าวหน้าขึ้นมากทำให้การรักษาแม่นยำ มีประสิทธิภาพจากประสบการณ์ของผม

Goto page arrow icon

90% ของคุณแม่ มีน้ำนมให้ลูกเพียงพอแน่นอน ถ้ารู้วิธี

ความจริงแล้ว 90% ของคุณแม่สามารถมีน้ำนมให้ลูกได้อย่างเพียงพอ แต่การขาดความรู้ ความเข้าใจเรื่องการให้นม ทำให้เด็กขาดโอกาสได้กินนมแม่ไปจำนวนไม่น้อยเลย

Goto page arrow icon

ประสบการณ์ต่อสู้มะเร็งเต้านมในวัย 74 ปี และรับมือกับก้อนเนื้อในสมอง

หมอตรวจหมดทุกอย่างแต่ไม่มีอะไร ยกเว้นจุดเล็ก ๆ ที่สมองขนาดเท่าหัวไม้ขีด หมอบอกว่ามันมีสิทธิ์ที่จะโตได้ ถ้ามันเป็นเนื้อไม่ดี แล้ววันหนึ่งจู่ ๆ เขาก็ล้มหัวฟาดฟื้น

Goto page arrow icon

การรักษาที่ประสบความสำเร็จ เริ่มต้นจากการทำความรู้จักกันให้มาก

คนที่มีบุตรยากต้องต่อสู้กับความเครียด ความกดดัน และความคาดหวัง เราต้องคุยกันให้ชัดเจนว่าโอกาสของเขามีมากน้อยแค่ไหน ข้อดีข้อเสียของแต่ละวิธีเป็นยังไงบ้าง

Goto page arrow icon

ประสบการณ์รักษา ไตวาย ฟื้นตัวเร็วด้วยโปรแกรมฟอกไตควบคู่กายภาพบำบัด

คุณแม่อายุเยอะแล้ว และมาถึงหมอด้วยอาการ ไตวาย พอไตมันไม่ดี ก็กระทบต่อเนื่องกันไปหมด หัวใจเต้นผิดจังหวะ น้ำท่วมปอด ตอนนั้นอวัยวะทุกอย่างเริ่มสะดุด คงมีแต่ปาฎิหารย์เท่านั้น...ถ้าจะทำให้คุณแม่ฟื้น

Goto page arrow icon

เราไม่ได้ดูแลแค่ร่างกาย แต่ดูแลใจไปพร้อมกัน

โรคผิวหนังอาจไม่ได้อันตรายถึงชีวิต แต่ในแง่ของความรู้สึกก็ค่อนข้างกระทบจิตใจ พอรักษาเสร็จแล้วเห็นทุกคนออกไปใช้ชีวิต ไปเข้าสังคมได้อย่างมั่นใจ หมอก็รู้สึกยินดีไปด้วย

Goto page arrow icon

หลอดเลือดสมองอุดตัน โรคที่ต้องแข่งกับเวลา

คุณเมี่ยวงิ้มมาถึง รพ.ด้วยอาการอัมพาตที่เกิดจากหลอดเลือดในสมองขนาดใหญ่อุดตัน ทำให้ไม่สามารถพูดได้ ตากลอกไปข้างขวา แขนขาด้านซ้ายไม่มีแรง ขยับไม่ได้ แต่เนื่องจากคนไข้มา รพ.เร็วทำให้สมองยังไม่เสียหายมาก

Goto page arrow icon

คนไข้หายจากโรคคือความสุขของหมอ

ความเป็นหมอไม่ใช่แค่ผ่าอย่างเดียว แต่เราต้องดูผลของการรักษาด้วย การเห็นคนไข้หายจากโรคคือความสุขของหมอ

Goto page arrow icon

เรามองคนไข้เป็นคนในครอบครัว

“การดูแลผู้ป่วยให้ดี เราต้องรักษาทั้งร่างกายและจิตใจ ต้องเข้าใจว่าธรรมชาติเป็นเช่นนี้เอง และต้องไม่ทะเลาะกับธรรมชาติ”

Goto page arrow icon

สูติแพทย์โดนเรียกตัวเมื่อไรก็ต้องไปเมื่อนั้น

แพทย์เฉพาะทางสาขาเวชศาสตร์มารดาและทารกในครรภ์

Goto page arrow icon

The Earlier The Better เรื่องสุขภาพ ยิ่งรู้ตัวไว ยิ่งรับมือง่าย

โรคมะเร็งต่อมลูกหมาก ถ้าเจอเร็ว รักษาง่ายกว่า คุณภาพหลังการรักษาก็จะยิ่งดีกว่าครับ

Goto page arrow icon

อย่าหยุดช่วยคนไข้ (Endless Efforts)

หนึ่งในแพทย์ชั้นนำที่มีประสบการณ์ในการรักษาผู้ป่วยโรคติดเชื้อทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติมากว่า 30 ปี มีผลงานโดดเด่นในการคิดค้นวิธีแก้ปัญหาและป้องกันโรคติดเชื้อร้ายแรงได้อย่างมีประสิทธิภาพ

Goto page arrow icon

ภูมิคุ้มกันดี ชนะโรคภูมิแพ้

หมออยากให้คนไข้โรคภูมิแพ้สามารถใช้ชีวิตได้ปกติมากที่สุด มีภูมิคุ้มกันที่ดี ดูแลตัวเองได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม โดยพึ่งพายาเป็นครั้งคราว

Goto page arrow icon

"นักสืบ" บทบาทที่กุมารแพทย์ต้องเป็น

“เราต้องอยู่ในโลกของเด็ก เมื่อเด็กป่วย ทุกคนในครอบครัวจะกังวล เครียด แต่เมื่อไรที่เรารักษาโรคหรือแก้ปัญหาได้ เท่ากับเราแก้ปัญหาให้กับคนทั้งครอบครัว”

Goto page arrow icon

เปลี่ยนจุดด้อยให้เป็นจุดเด่นคือหน้าที่ของหมอ

ทันตแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านทันตกรรมประดิษฐ์ ที่มีชื่อเสียงและประสบการณ์มากมาย โดยเฉพาะในด้านการนำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่ทันสมัยด้านทันตกรรมเข้ามาใช้ในการรักษาและแก้ปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพช่องปากและฟันให้คนไทย

Goto page arrow icon

หมอด้าย - สุดปรีดา กับสูตรยารักษามะเร็งชั้นดี ที่เรียกว่า “ความเข้าใจ”

หมอทั่วไปที่ไม่ใช่หมอมะเร็ง เขามองได้แต่ภาพรวมว่ามะเร็งแบบนี้ ต้องใช้ยาอะไร แต่ความจริงแล้ว ยาที่เคยใช้กับคนไข้คนหนึ่ง อาจไม่จำเป็นกับอีกคนหนึ่ง

Goto page arrow icon

ศักยภาพของเครื่องมือสร้างการวินิจฉัยที่แม่นยำ

ผศ.พญ.นิทรา ปิยะวิเศษพัฒน์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านรังสีวิทยาวินิจฉัย (Diagnostic Radiology)

Goto page arrow icon

ไม่หยุดเรียนรู้เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของคนไข้

ศัลยแพทย์ที่มีชื่อเสียงและเป็นศาสตราจารย์ ระดับ 11 ทางด้านศัลยศาสตร์ศีรษะ-คอและเต้านมเพียงท่านเดียวในประเทศ ได้รับการยอมรับในฐานะผู้เชี่ยวชาญด้านการผ่าตัดรักษาโรคมะเร็งเต้านมและต่อมไทรอยด์

Goto page arrow icon