Presbycusis Banner 1.jpg

ประสาทหูเสื่อมตามอายุ

เริ่มจากมีอาการสูญเสียการได้ยินแบบน้อย ๆ 2 ข้างเท่า ๆ กันและไม่มีอาการอื่นร่วมด้วย จนค่อย ๆ เป็นมากขึ้นเรื่อย ๆ อาจใช้เวลานานหลายปี

แชร์

การสูญเสียการได้ยินจากประสาทหูเสื่อมนั้นเกิดได้จาก 3 สาเหตุหลัก ๆ คือ หูชั้นใน ประสาทหู และระบบประสาทส่วนกลาง หนึ่งในสาเหตุที่พบได้บ่อยที่สุดของการสูญเสียการได้ยินจากประสาทหูเสื่อมที่เกิดจากหูชั้นใน คือประสาทหูเสื่อมตามอายุ (Presbycusis) ซึ่งถือ เป็นปัญหาหนึ่งที่พบได้บ่อยอันดับต้น ๆ ในผู้สูงอายุ   รบกวนชีวิตประจำวันและสภาพจิตใจ ทั้งต่อตัวผู้ป่วยเองและคนรอบข้าง

Presbycusis (ประสาทหูเสื่อมตามอายุ หรือภาวะหูตึงในผู้สูงอายุ) เกิดจากการเสื่อมของหูชั้นใน โดยมีลักษณะการดำเนินโรคค่อยเป็นค่อยไป คือจะเริ่มจากมีอาการสูญเสียการได้ยินแบบน้อย ๆ 2 ข้างเท่า ๆ กันและไม่มีอาการอื่นร่วมด้วย จนค่อย ๆ เป็นมากขึ้นเรื่อย ๆ อาจใช้เวลานานหลายปี กว่าที่ผู้ป่วยหรือคนรอบข้างจะเริ่มรู้สึกถึงอาการของการได้ยิน ในบางรายอาจมีเสียงรบกวนในหู บางรายอาจมาด้วยฟังไม่รู้เรื่อง คือได้ยินเสียงแต่จับใจความไม่ได้ร่วมด้วย ซึ่งเป็นผลมาจากความเสื่อมของสมองตามวัย

อาการและการวินิจฉัย
การวินิจฉัยทำได้โดยการตรวจร่างกาย ทั้งหูชั้นนอกและหูชั้นกลาง การตรวจการได้ยิน (Audiogram) ช่วยในการตรวจพบความผิดปกติของประสาทหูเสื่อมที่มักจะมีระดับการได้ยินลดลงในช่วงความถี่สูงมากกว่าความถี่ต่ำ แต่ในการดำเนินโรคระยะท้าย ๆ อาจมีการได้ยินลดลงในหลาย ๆ ความถี่ มักพบในคนที่มีอายุมากกว่า 50 ปีขึ้นไป และมีโอกาสพบมากขึ้นตามอายุที่มากขึ้น

ในบางรายงานพบอุบัติการณ์ของประสาทหูเสื่อมตามอายุ ประมาณ 10% ในช่วงอายุ 44-54 ปี 25% ในช่วงอายุ 55-64 ปี และ 40% ในช่วงอายุ 65-84 ปี

การรักษา
เนื่องจากเป็นภาวะเสื่อมตามวัยจึงไม่สามารถแก้ไขที่สาเหตุได้ แต่สามารถป้องกันได้ ในปัจจุบันมีข้อมูลชัดเจนว่าปัญหาการได้ยินเป็นความเสี่ยงสำคัญที่ทำให้เกิดภาวะสมองเสื่อม (Dementia และ Alzheimer’s) ตามมา ดังนั้นผู้ป่วยที่มีปัญหาการได้ยินที่รบกวนคุณภาพชีวิตประจำวัน ควรที่จะมาพบแพทย์เพื่อทำการวินิจฉัย รักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพการได้ยินด้วยการใช้เครื่องช่วยฟัง ร่วมกับได้รับคำแนะนำในการดูแลรักษาสุขภาพของหู การจัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะแก่การแยกแยะเสียงได้ชัดเจนมากขึ้น  เช่น ลดเสียงรบกวน ให้ผู้สนทนาอยู่ข้างหน้า ไม่พูดเร็ว หรือพูดประโยคยาวเกินไป ทั้งหมดนี้เพื่อป้องกันการเกิดภาวะสมองเสื่อม และยังช่วยให้สภาพจิตใจของผู้สูงอายุละคนรอบข้างดีขึ้นอย่างชัดเจน

บทความโดย

เผยแพร่เมื่อ: 19 เม.ย. 2022

แชร์

แพทย์ที่เกี่ยวข้อง

  • Link to doctor
    รศ.ดร.นพ.หม่อมหลวง กรเกียรติ์ สนิทวงศ์

    รศ.ดร.นพ.หม่อมหลวง กรเกียรติ์ สนิทวงศ์

    • โสต ศอ นาสิกวิทยา
    โสต ศอ นาสิกวิทยา, โรคหรือความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับจมูก โพรงจมูก และไซนัส, Skull Base Surgery, ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในจมูกและโพรงไซนัส
  • Link to doctor
    นพ. สมบูรณ์ สันติกชกร

    นพ. สมบูรณ์ สันติกชกร

    • โสต ศอ นาสิกวิทยา
    โสต ศอ นาสิกวิทยา
  • Link to doctor
    รศ.นพ.   จิระพงษ์ อังคะรา

    รศ.นพ. จิระพงษ์ อังคะรา

    • โสต ศอ นาสิกวิทยา
    • โสต ศอ นาสิกวิทยาการนอนหลับ
    โสต ศอ นาสิกวิทยา, Sleep Otolaryngology
  • Link to doctor
    นพ. กิตติชัย มงคลกุล

    นพ. กิตติชัย มงคลกุล

    • โสต ศอ นาสิกวิทยา
    โสต ศอ นาสิกวิทยา, โรคหรือความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับจมูก โพรงจมูก และไซนัส
  • Link to doctor
    พญ. ศศิกานต์ ภูมิคอนสาร

    พญ. ศศิกานต์ ภูมิคอนสาร

    • โสต ศอ นาสิกวิทยา
    • การผ่าตัดโรคการนอนหลับ
    โสต ศอ นาสิกวิทยา, Sleep Surgery
  • Link to doctor
    นพ. กฤษฎา  โกวิทวิบูล

    นพ. กฤษฎา โกวิทวิบูล

    • โสต ศอ นาสิกวิทยา
    โสต ศอ นาสิกวิทยา, Facial Plastic and Reconstructive Surgery
  • Link to doctor
    รศ.นพ. ณปฎล ตั้งจาตุรนต์รัศมี

    รศ.นพ. ณปฎล ตั้งจาตุรนต์รัศมี

    • โสต ศอ นาสิกวิทยา
    โสต ศอ นาสิกวิทยา
  • Link to doctor
    ผศ.นพ. วรวรรธน์ ระหว่างบ้าน

    ผศ.นพ. วรวรรธน์ ระหว่างบ้าน

    • โสต ศอ นาสิกวิทยา
    • ศัลยศาสตร์ศีรษะและคอ
    โสต ศอ นาสิกวิทยา, ศัลยกรรมบริเวณศีรษะและคอ, โรคมะเร็งบริเวณศีรษะและคอ, ความผิดปกติของต่อมน้ำลาย
  • Link to doctor
    รศ.นพ. เจษฎา   กาญจนอัมพร

    รศ.นพ. เจษฎา กาญจนอัมพร

    • โสต ศอ นาสิกวิทยา
    โสต ศอ นาสิกวิทยา, Skull Base Surgery, โรคหรือความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับจมูก โพรงจมูก และไซนัส
  • Link to doctor
    นพ. วรุตม์ ศุภนคร

    นพ. วรุตม์ ศุภนคร

    • โสต ศอ นาสิกวิทยา
    • ศัลยศาสตร์ตกแต่งและเสริมสร้างใบหน้า
    โสต ศอ นาสิกวิทยา, Facial Plastic and Reconstructive Surgery
  • Link to doctor
    นพ. พลพร อภิวัฒนเสวี

    นพ. พลพร อภิวัฒนเสวี

    • โสต ศอ นาสิกวิทยา
    • โสต ศอ นาสิกวิทยาการนอนหลับ
    โสต ศอ นาสิกวิทยา, Sleep Otolaryngology
  • Link to doctor
    นพ. วิศรุต สามัคคีธรรม

    นพ. วิศรุต สามัคคีธรรม

    • โสต ศอ นาสิกวิทยา
    โสต ศอ นาสิกวิทยา, Facial Plastic and Reconstructive Surgery, Head and Neck Cancer
  • Link to doctor
    นพ. วิรัช จิตสุทธิภากร

    นพ. วิรัช จิตสุทธิภากร

    • โสต ศอ นาสิกวิทยา
    • นาสิกวิทยาและโรคภูมิแพ้
    โสต ศอ นาสิกวิทยา, โรคหรือความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับจมูก โพรงจมูก และไซนัส, ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในจมูกและโพรงไซนัส, ภาวะไทรอยด์ทางตา, โรคหรือความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับจมูก และภูมิแพ้
  • Link to doctor
    ผศ.พญ. เปรมสุดา   สมบุญธรรม

    ผศ.พญ. เปรมสุดา สมบุญธรรม

    • โสต ศอ นาสิกวิทยา
    โสต ศอ นาสิกวิทยา, Laryngology
  • Link to doctor
    ผศ.ดร.นพ. ขจร เสรีศิริขจร

    ผศ.ดร.นพ. ขจร เสรีศิริขจร

    • โสต ศอ นาสิกวิทยา
    โสต ศอ นาสิกวิทยา, โรคหรือความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับจมูก และภูมิแพ้
  • Link to doctor
    พญ. ประภิศพันธุ์   เจริญลักษณ์

    พญ. ประภิศพันธุ์ เจริญลักษณ์

    • โสต ศอ นาสิกวิทยา
    โสต ศอ นาสิกวิทยา, Facial Plastic and Reconstructive Surgery
  • Link to doctor
    นพ. ธนุศักดิ์ ศรีใจ

    นพ. ธนุศักดิ์ ศรีใจ

    • โสต ศอ นาสิกวิทยา
    โสต ศอ นาสิกวิทยา
  • Link to doctor
    นพ. สรณัฐ ทวีบูรณ์

    นพ. สรณัฐ ทวีบูรณ์

    • โสต ศอ นาสิกวิทยา
    โสต ศอ นาสิกวิทยา, ศัลยกรรมบริเวณศีรษะและคอ
  • Link to doctor
    นพ. สมนึก อร่ามเธียรธำรง

    นพ. สมนึก อร่ามเธียรธำรง

    • โสต ศอ นาสิกวิทยา
    โสต ศอ นาสิกวิทยา
  • Link to doctor
    พญ. พีรดา อารีนิจ

    พญ. พีรดา อารีนิจ

    • โสต ศอ นาสิกวิทยา
    โสต ศอ นาสิกวิทยา, Laryngology
  • Link to doctor
    รศ.นพ. ทรงกลด เอี่ยมจตุรภัทร

    รศ.นพ. ทรงกลด เอี่ยมจตุรภัทร

    • โสต ศอ นาสิกวิทยา
    โสต ศอ นาสิกวิทยา, โรคหรือความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับจมูก และภูมิแพ้
  • Link to doctor
    ผศ.พญ. ภาณินี   จารุศรีพันธ์

    ผศ.พญ. ภาณินี จารุศรีพันธ์

    • โสต ศอ นาสิกวิทยา
    โสต ศอ นาสิกวิทยา, Neurotology